Skip to content

เทคนิควิศวกรรมบำรุงรักษา

โกศล  ดีศีลธรรม ผู้จัดการทั่วไป(General Manager) บริษัท อีควิตี้ เซอร์วิสเซส แอนด์ โซลูชั่นส์ จำกัด(Equity Services and Solutions) kosol@esspower.com    เนื่องจากปัญหาเครื่องจักรขัดข้องจะส่งผลกระทบโดยตรงกับสายการผลิต  โดยเฉพาะธุรกิจภาคอุตสาหกรรม ปัจจัยสนับสนุนการสร้างความน่าเชื่อถือให้ระบบการผลิต คือ การดำเนินกิจกรรมบำรุงรักษาที่มุ่งป้องกันการเกิดปัญหาเครื่องจักรขัดข้องและการซ่อมแซมอย่างทันท่วงทีเพื่อลดความสูญเสียขณะใช้งาน  ดังนั้นความรับผิดชอบของวิศวกรบำรุงรักษาต้องมุ่งค้นหาจำแนกสาเหตุหลักปัญหาเพื่อระบุแนวทางแก้ปัญหาด้วยเทคนิควิศวกรรมความน่าเชื่อถือ(Maintenance Engineering) ประกอบด้วยแนวทางและเครื่องมือหลัก ดังนี้ กระบวนการวิเคราะห์ปัญหาเครื่องจักร การวิเคราะห์รูปแบบความชำรุดเสียหาย(FMEA)… Read More »เทคนิควิศวกรรมบำรุงรักษา

การวางแผนความน่าเชื่อถือสินทรัพย์โรงงาน

โกศล  ดีศีลธรรม ผู้จัดการทั่วไป(General Manager) บริษัท อีควิตี้ เซอร์วิสเซส แอนด์ โซลูชั่นส์ จำกัด(Equity Services and Solutions) kosol@esspower.com    สำหรับภาคอุตสาหกรรมการผลิต ปัญหาความผันผวนในสายการผลิตได้ส่งผลกระทบต่อผลิตภาพกระบวนการที่มักเกิดจากปัญหาเครื่องจักรขัดข้อง(Breakdown) เนื่องจากปัญหาเครื่องจักรขัดข้องจะส่งผลต่อกระบวนการถัดไปที่อาจรุนแรงถึงต้องหยุดสายการผลิต ดังนั้นการใช้เวลาแก้ไขปัญหานานจะเกิดความสูญเปล่าในรูปงานระหว่างผลิตหรือสต็อกค้าง  สถานการณ์ดังกล่าวย่อมส่งผลกระทบต่อความน่าเชื่อถือและความปลอดภัยในสายการผลิต  ทำให้งานบำรุงรักษาเป็นปัจจัยสนับสนุนความน่าเชื่อถือกระบวนการ(Process Reliability)  โดยทั่วไปการเดินเครื่องจักรที่มีประสิทธิภาพ หมายถึง การใช้ประโยชน์ในกำลังการผลิตสูงสุด แต่ช่วงเดินเครื่องจักรจะเกิดความสูญเสียที่มีผลกระทบต่อประสิทธิผลการเดินเครื่องจักรและผลิตภาพสายการผลิต… Read More »การวางแผนความน่าเชื่อถือสินทรัพย์โรงงาน

แนวทางประเมินประสิทธิผลการบำรุงรักษา

โกศล  ดีศีลธรรม ผู้จัดการทั่วไป(General Manager) บริษัท อีควิตี้ เซอร์วิสเซส แอนด์ โซลูชั่นส์ จำกัด(Equity Services and Solutions) kosol@esspower.com    เนื่องจากการบำรุงรักษา คือ ปัจจัยหลักสร้างความน่าเชื่อถือให้เครื่องจักรที่มุ่งรักษาสภาพให้พร้อมใช้งานด้วยการดำเนินกิจกรรมบำรุงรักษาก่อนจะเกิดเหตุขัดข้อง  โดยเฉพาะการบำรุงรักษาประจำวัน การปรับแต่งเครื่อง การตรวจเช็คและถอดเปลี่ยนอะไหล่ตามรอบเวลา การปรับปรุงวิธีการปฏิบัติงานที่มุ่งความปลอดภัยและการป้องกันไม่ให้ปัญหาเดิมเกิดขึ้นซ้ำ ดังนั้นการประเมินประสิทธิผลการบำรุงรักษาเชิงป้องกันจะใช้ตัวชี้วัดความสูญเสียกำลังการผลิตและการหยุดเครื่องที่ไม่มีในแผน (Unplanned Shutdown) โดยประสิทธิผลงานบำรุงรักษาเชิงป้องกันจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อสามารถลดความสูญเสียจากเครื่องจักรขัดข้อง… Read More »แนวทางประเมินประสิทธิผลการบำรุงรักษา

การวัดประสิทธิผลสำหรับผู้ประกอบการภาคอุตสาหกรรม

โกศล  ดีศีลธรรม ผู้จัดการทั่วไป(General Manager) บริษัท อีควิตี้ เซอร์วิสเซส แอนด์ โซลูชั่นส์ จำกัด(Equity Services and Solutions) kosol@esspower.com    ปัจจุบันแนวคิดการวัดประสิทธิผลโดยรวมในงานอุตสาหกรรมเป็นประเด็นหนึ่งที่กล่าวถึงบ่อยในแวดวงธุรกิจการผลิต โดยเฉพาะแนวคิดการวัดผลประกอบการโดยรวม(Overall Performance Measure) ซึ่งมีองค์ประกอบหลัก คือ ความพร้อมเดินเครื่องจักร(Availability) ผลิตผลจากสายการผลิต(Production Output) และต้นทุนอายุการใช้งาน(Lifetime Cost… Read More »การวัดประสิทธิผลสำหรับผู้ประกอบการภาคอุตสาหกรรม

การวัดประสิทธิผลเครื่องจักรโดยรวม

โกศล  ดีศีลธรรม ผู้จัดการทั่วไป(General Manager) บริษัท อีควิตี้ เซอร์วิสเซส แอนด์ โซลูชั่นส์ จำกัด(Equity Services and Solutions) kosol@esspower.com    ปัจจุบันองค์กรชั้นนำต่าง ๆ ได้ประยุกต์แนวคิดและเครื่องมือต่าง ๆ เพื่อเพิ่มผลิตภาพการดำเนินงาน แต่ปัญหาที่มักเกิดขึ้นกับองค์กรส่วนใหญ่ คือ การมุ่งแก้ปัญหาเฉพาะหน้าซึ่งปราศจากแผนงานหรือแนวทางแก้ไขที่เป็นระบบ รวมทั้งการพิจารณาภาพรวมทั้งกระบวนการต้นน้ำและปลายน้ำ หากเครื่องจักรเกิดความขัดข้องบ่อยครั้งและใช้เวลาแก้ปัญหานานจะทำให้เกิดงานระหว่างผลิตในรูปสต็อกค้าง รวมทั้งส่งผลต่อความน่าเชื่อถือและความปลอดภัยการทำงานในสายการผลิต… Read More »การวัดประสิทธิผลเครื่องจักรโดยรวม

บทบาทบุคลากร : ปัจจัยพัฒนาสู่การบำรุงรักษาแบบลีน

โกศล  ดีศีลธรรม ผู้จัดการทั่วไป(General Manager) บริษัท อีควิตี้ เซอร์วิสเซส แอนด์ โซลูชั่นส์ จำกัด(Equity Services and Solutions) kosol@esspower.com    โดยทั่วไปปัจจัยสนับสนุนการเพิ่มความน่าเชื่อถือให้ระบบการผลิตที่ดำเนินการภายใต้การผลิตแบบทันเวลาพอดี คือ การดำเนินกิจกรรมบำรุงรักษาที่มุ่งป้องกันการเกิดปัญหาเครื่องจักรขัดข้องและการซ่อมแซมหากเกิดปัญหาขณะใช้งาน  แต่เป็นที่น่าเสียดายว่าฝ่ายบำรุงรักษามักมองข้ามความสำคัญกิจกรรมขจัดวามสูญเปล่าซึ่งเป็นหัวใจหลักการเพิ่มผลิตภาพ   การมุ่งสู่ความเป็นเลิศในงานบำรุงรักษาที่ดำเนินตามแนวคิดลีนซึ่งปรับกลยุทธ์บำรุงรักษาเชิงรับ(Reactive Maintenance) สู่การบำรุงรักษาเชิงรุก(Proactive Maintenance) อาจดำเนินการได้ไม่ยุ่งยากหากฝ่ายบำรุงรักษาให้ความสำคัญต่อการขจัดความสูญเปล่า โดยเฉพาะระบบบำรุงรักษาแบบลีน(Lean Maintenance)… Read More »บทบาทบุคลากร : ปัจจัยพัฒนาสู่การบำรุงรักษาแบบลีน

ปัจจัยสร้างความน่าเชื่อถือกระบวนการ

โกศล  ดีศีลธรรม ผู้จัดการทั่วไป(General Manager) บริษัท อีควิตี้ เซอร์วิสเซส แอนด์ โซลูชั่นส์ จำกัด(Equity Services and Solutions) kosol@esspower.com             ปัญหาความผันผวนผลิตผลมักเกิดจากปัญหาเครื่องจักรขัดข้อง(Breakdown) หากเกิดปัญหาเครื่องจักรขัดข้องก็จะส่งผลกระทบต่อกระบวนการถัดไปและอาจรุนแรงถึงต้องหยุดเดินสายการผลิต ดังนั้นการใช้เวลาแก้ไขปัญหานานจะทำให้เกิดงานระหว่างผลิตในรูปสต็อกค้าง ทำให้ส่งผลต่อความน่าเชื่อถือและความปลอดภัยในสายการผลิต  ทำให้งานบำรุงรักษาเป็นปัจจัยสนับสนุนความน่าเชื่อถือกระบวนการ โดยเฉพาะการบำรุงรักษาเชิงรุกที่มีบทบาทสำคัญในการป้องกันปัญหาเครื่องจักรขัดข้องและเป็นปัจจัยสนับสนุนการสร้างความน่าเชื่อถือให้กระบวนการ ทำให้เกิดการพัฒนาผลิตภาพ ดังนี้    ด้วยเหตุนี้กิจกรรมบำรุงรักษา คือ… Read More »ปัจจัยสร้างความน่าเชื่อถือกระบวนการ

แนวโน้มการทรานส์ฟอร์เมชันงานบำรุงรักษาในธุรกิจสายการบิน

โกศล  ดีศีลธรรม ผู้จัดการทั่วไป(General Manager) บริษัท อีควิตี้ เซอร์วิสเซส แอนด์ โซลูชั่นส์ จำกัด(Equity Services and Solutions) kosol@esspower.com    การวางแผนบำรุงรักษามีบทบาทสำคัญในการป้องกันและลดปัญหาเครื่องจักรชำรุดเสียหาย   ดังนั้นผู้ประกอบการควรพิจารณาปัจจัยและประเมินผลกระทบการบำรุงรักษาหลังเกิดเหตุขัดข้อง(Breakdown Maintenance)เพื่อลดความสูญเสียโอกาสทางธุรกิจ หากปราศจากแผนการบำรุงรักษาแล้วความเสียหายที่เกิดจากเครื่องจักรขัดข้องและค่าใช้จ่ายการซ่อมบำรุงจะสูงมาก ซึ่งการดำเนินการอย่างมีประสิทธิผลควรคำนึงถึงความเหมาะสมด้วยการจัดทำแผนเพื่อลดความสูญเสียและยืดอายุการใช้งาน  แนวโน้มการดำเนินธุรกิจถูกปรับเปลี่ยนไปจากรูปแบบเดิมที่มุ่งใช้แรงงานสู่ความเป็นอัตโนมัติมากขึ้น  ทำให้ระบบบำรุงรักษามีบทบาทสนับสนุนการดำเนินงานมากขึ้น   โดยเฉพาะการบำรุงรักษาเชิงคาดการณ์(Predictive Maintenance)และการบำรุงรักษาเชิงป้องกัน(Preventive Maintenance) เช่น… Read More »แนวโน้มการทรานส์ฟอร์เมชันงานบำรุงรักษาในธุรกิจสายการบิน

ปัจจัยประเมินค่าใช้จ่ายงานบำรุงรักษาภาคอุตสาหกรรม

โกศล  ดีศีลธรรม ผู้จัดการทั่วไป(General Manager) บริษัท อีควิตี้ เซอร์วิสเซส แอนด์ โซลูชั่นส์ จำกัด(Equity Services and Solutions) kosol@esspower.com    ปัจจุบันงานบำรุงรักษาภาคการผลิตได้มีบทบาทสำคัญในการสร้างผลิตภาพภายใต้สภาวะการแข่งขัน ซึ่งไม่เพียงแค่สนับสนุนการสร้างกลไกป้องกันความสูญเสียในสายการผลิตเท่านั้น แต่ยังส่งผลต่อการพัฒนาส่วนงานสนับสนุนทั้งองค์กร ทำให้เกิดความมีส่วนร่วมของพนักงานทุกระดับเพื่อมุ่งลดความสูญเสียให้เป็นศูนย์(Zero Losses) แต่ด้วยสภาวะแวดล้อมการแข่งขันและความเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีได้ส่งผลให้องค์กรต้องสร้างศักยภาพการแข่งขัน  โดยปัจจัยทางคุณภาพถูกบูรณาการกับแนวคิดการออกแบบด้วยต้นทุนที่ต่ำกว่าและเชื่อมโยงกับกิจกรรมบำรุงรักษา ซึ่งต้องมีการวางแผนและดำเนินการฝึกอบรมให้กับพนักงานอย่างต่อเนื่อง รวมถึงจำแนกค่าใช้จ่ายที่ถูกใช้ในกิจกรรมบำรุงรักษาทั่วไปกับงานบำรุงรักษาด้วยตนเองและการตรวจติดตามวินิจฉัยสภาพเครื่องจักรด้วยระบบบำรุงรักษาเชิงคาดการณ์   ดังกรณีการใช้อุปกรณ์  V-Starter… Read More »ปัจจัยประเมินค่าใช้จ่ายงานบำรุงรักษาภาคอุตสาหกรรม

การพัฒนาระบบบำรุงรักษาด้วยอินเทอร์เน็ตทุกสรรพสิ่ง(IoT)​

โกศล  ดีศีลธรรม ผู้จัดการทั่วไป(General Manager) บริษัท อีควิตี้ เซอร์วิสเซส แอนด์ โซลูชั่นส์ จำกัด(Equity Services and Solutions) kosol@esspower.com    สำหรับภาคอุตสาหกรรมไทยส่วนใหญ่ คือ โรงงานขนาดกลางและขนาดย่อม(SME) ระดับความพร้อมโรงงานกลุ่มนี้ ตามข้อมูลสำรวจผู้ประกอบการธุรกิจ SME ส่วนใหญ่ต่ำกว่าระดับอุตสาหกรรม 3.0(การใช้ระบบอัตโนมัติและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ควบคุม) โดยค่าเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 2.2-2.5  ดังนั้นความสำคัญอินเทอร์เน็ตทุกสรรพสิ่ง(IoT)… Read More »การพัฒนาระบบบำรุงรักษาด้วยอินเทอร์เน็ตทุกสรรพสิ่ง(IoT)​